สามารถเปิดบัญชีออนไลน์ โดยเข้าเว็บไซต์ https://www.fnsyrus.com และทำขั้นตอน ดังนี้
รายละเอียดเพิ่มเติม https://www.fnsyrus.com/mc03/open-ac/ic/open-ac.aspx
สามารถทำรายการผ่าน 3 ขั้นตอน ดังนี้
หรือดูคลิปวีดีโอได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=Y9rDyxuESos
สาเหตุคือ
วิธีการแก้ไข ลบอีเมลที่ไม่ใช้งานและติดต่อกลับมาที่บริษัทฯ เพื่อขอรับรหัสใหม่
วิธีการแก้ไข ให้ตรวจสอบ Mailbox อื่นๆ เช่น Trash, Social, Promotion
วิธีการแก้ไข ให้ติดต่อกลับมาที่บริษัทฯ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการส่งรหัสให้ใหม่ในช่องทางอื่น
วิธีการแก้ไข ให้ติดต่อกลับมาที่บริษัทฯ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการส่งรหัสให้ใหม่ในช่องทางอื่นๆ
ทำได้ 2 วิธี ดังนี้
รายละเอียดเพิ่มเติม https://www.fnsyrus.com/mc03/open-ac/ic/withdrawal.aspx
แยก 2 กรณีดังนี้
ต้องเป็นเงินที่ครบกำหนดชำระจากตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วเท่านั้น (2 วันทำการหลังจากการขาย)
รายละเอียดเพิ่มเติม https://www.fnsyrus.com/mc03/open-ac/ic/withdrawal.aspx
ล็อกอินเข้า www.fnsyrus.com และทำ 3 ขั้นตอน ดังนี้
สำหรับท่านที่มีการฝากเงินเข้ามาวางที่หลักประกันหรือฝากเงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์และต้องการถอนเงินดังกล่าวสามารถทำได้ด้วยวิธีการดังนี้
แบบฟอร์ม แจ้งถอนเงิน
ทั้งนี้ยอดเงินที่ท่านทำการถอนจะต้องปลอดภาระการซื้อขายหลักทรัพย์ T+2 (Trade date+2 วันทำการ)
ท่านมีการซื้อหลักทรัพย์วันจันทร์ โดยการซื้อหลักทรัพย์นั้นใช้หลักประกันเงินสด 20%ในการซื้อ และท่านมีความประสงค์ที่จะถอนเงินหลักประกัน ยอดเงินหลักประกันดังกล่าวจะปลอดภาระเมื่อท่านมีการชำระค่าซื้อหลักทรัพย์เข้ามาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และท่านจะทำการถอนเงินหลักประกันได้ในวันพุธคือ T+2 (Trade date วันจันทร์ + อีก 2 วันทำการยอดเงินจะปลอดภาระ) ซึ่งท่านจะได้รับเงินตามเงื่อนไขและระยะเวลาในการแจ้งถอนเงินในหมายเหตุของแบบฟอร์มการถอนเงินนั้นๆ
ท่านมีการขายหลักทรัพย์วันจันทร์ ซึ่งยอดเงินค่าขายหลักทรัพย์ท่านจะยังไม่สามารถถอนออกได้ เนื่องจากยอดเงินดังกล่าวยังไม่ปลอดภาระ ยอดเงิน ค่าขายจะปลอดภาระและทำการถอนได้ในวันพุธคือ T+2 (Trade date วันจันทร์ + อีก 2 วันทำการยอดเงินจะปลอดภาระ) ซึ่งท่านจะได้รับเงินตามเงื่อนไขและระยะเวลาในการแจ้งถอนเงินในหมายเหตุของแบบฟอร์มการถอนเงินนั้นๆ
สำหรับการถอนเงินที่ฝากไว้โดยยอดเงินดังกล่าวไม่ได้นำไปซื้อหลักทรัพย์ใดๆ ยอดเงินในส่วนนี้จะไม่ติดภาระผูกพัน(T+2) ท่านสามารถทำถอนได้ ทันที ซึ่งท่านจะได้รับเงินตามเงื่อนไขและระยะเวลาในการแจ้งถอนเงินในหมายเหตุของแบบฟอร์มการถอนเงินนั้นๆ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ผู้แนะนำการลงทุนของท่าน
ท่านสามารถตรวจสอบรายการฝากและถอนเงินโดยล็อกอินเข้าแอปพลิเคชัน Finansia HERO
ผ่านหมายเลขโทรศัพท์มือถือ (SMS-OTP)
ผ่านแอปพลิเคชัน Finansia HERO
Password ใหม่ที่กำหนดต้องประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขจำนวน 8 - 10 หลักดังนี้
กรอก Username และรหัสผ่านชั่วคราว(Password) จากนั้นกดปุ่มล็อกอิน
เมื่อล็อกอินเรียบร้อยแล้ว จะเจอหน้าบังคับตั้งรหัส Password ใหม่
เมื่อตั้งค่า PIN ใหม่เป็นที่เรียบร้อย ท่านสามารถเข้าใช้งานโปรแกรม Finansia HERO ได้ทันที
ทำตาม 3 ขั้นตอน ดังนี้
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้มีการประกาศแนวปฎิบัติที่ นป.5/2563 เรื่องแนวทางปฎิบัติในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการทำความรู้จักลูกค้า ว่าด้วยเรื่องการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อประเมินข้อมูลของลูกค้าให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งลงประกาศไว้ ณ วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2563
การยืนยันตัวตนด้วยข้อมูลส่วนบุคคลมากกว่า 1
ประเภทคือ รหัส OTP ที่ได้รับผ่านข้อความ SMS
กรณีที่ท่านไม่สามารถเข้า ล็อกอิน ในระบบได้ ให้ท่านติดต่อไปทางผู้แนะนำการลงทุนของท่านเพื่อขอรับเอกสาร แบบฟอร์มแจ้งการเปลี่ยนแปลง/แก้ไขข้อมูลลูกค้า ทำการลงนามเอกสารดังกล่าวและส่งกลับให้ผู้แนะนำการลงทุนของท่าน
ค่าธรรมเนียมขึ้นอยู่กับประเภทบัญชี และช่องทางการส่งคำสั่ง ดังนี้
หมายเหตุ ค่าธรรมเนียมดังกล่าว ยังไม่รวมค่าธรรมเนียมตลาด และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.fnsyrus.com/mc03/services/stock/rate-fee.aspx
มูลค่าการซื้อขายตั้งแต่ราคา X <= 5 ล้านบาท แบ่งเป็นแต่ละประเภทบัญชี และแบ่งเป็นการส่งคำสั่งซื้อขายผ่านผู้แนะนำการลงทุน
ประเภทบัญชี Cash
ประเภทบัญชี Cash Balance และ Credit Balance
ประเภทบัญชี Cash ,Cash Balance และ Credit Balance
ประเภทบัญชี Cash ,Cash Balance และ Credit Balance
ประเภทบัญชี Cash ,Cash Balance และ Credit Balance
จากอัตราค่าธรรมเนียมทั้ง 4
ข้อนี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ซึ่งท่านสามารถคำนวณ
ตัวอย่างเช่น
ท่านทำการซื้อหลักทรัพย์จากบัญชี Cash Balance 0.15% จำนวน 1,000 หุ้น ที่ราคาหุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงินที่ต้องชำระค่าซื้อหลักทรัพย์ 10,000 บาท อัตราค่าธรรมเนียมที่ท่านต้องชำระคำนวณดังนี้
ค่าซื้อหลักทรัพย์ 10,000 บาท x อัตราค่าธรรมเนียมนายหน้า 0.15% = 15 บาท
ค่าซื้อหลักทรัพย์ 10,000 บาท x อัตราค่าธรรมเนียม 0.007% = 0.70 สตางค์
นำอัตราค่าธรรมเนียมนายหน้า Commission 15 บาท + ค่าธรรมเนียม 0.70 สตางค์ = ค่าธรรมเนียมทั้งหมด 15.70 บาท
Vat7% คิดคำนวณจาก 15.70 บาท x 7% = 1.10 บาท
ยอดรวมรายการชำระอัตราค่าธรรมเนียมทั้งหมด 10,000 + 15 + 0.70 + 1.10 = 10,016.80 บาท
แยก 2 กรณีดังนี้
ถ้าท่านต้องการยื่นสมุดบัญชีธนาคาร สามารถทำได้ดังนี้
ประเภทบัญชี Cash Balance และ Credit Balance
ประเภทบัญชี Cash
หมายเหตุ : ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และภาษีหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งท่านสามารถคำนวณรายละเอียดได้ดังนี้
ตัวอย่างเช่น
ซื้อหลักทรัพย์จากบัญชี Cash Balance 0.15%
จำนวน 1,000
หุ้น ที่ราคาหุ้นละ 10 บาท
รวมเป็นเงินที่ต้องชำระค่าซื้อหลักทรัพย์ 10,000 บาท
อัตราค่าธรรมเนียมที่ท่านต้องชำระคำนวณดังนี้
ข้อ 1
อัตราค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ Commission 0.15%
ค่าซื้อหลักทรัพย์ 10,000 บาท x อัตราค่าธรรมเนียมนายหน้า 0.15% = 15 บาท
ข้อ 2 ,ข้อ 3 และข้อ4
ค่าธรรมเนียมจะนำมาคิดเป็น 0.007%
ค่าซื้อหลักทรัพย์ 10,000 บาท x อัตราค่าธรรมเนียม 0.007% = 0.70สตางค์
นำอัตราค่าธรรมเนียมนายหน้า Commission 15 บาท + ค่าธรรมเนียม 0.70
สตางค์ = ได้ค่าธรรมเนียมทั้งหมด
Vat7% คิดคำนวณจาก 15.70 บาท x 7% = 1.10 บาท
รวมยอดรายการชำระทั้งหมด 10,000 + 15 + 0.70 + 1.10 = 10,016.80 บาท
วิธีการคำนวณหา Avg.cost (Average cost)
(ราคาซื้อ + อัตราค่าธรรมเนียมต่างๆ + Vat7%) / จำนวนหุ้นทั้งหมด = ราคาต้นทุนเฉลี่ย (Average cost) (10,000 + 15.70 + 1.10) / จำนวน 1,000 หุ้น = ราคา Avg.cost 10.02 บาท
ตัวอย่างเช่น
วิธีการคิดหาราคาเฉลี่ย (Average cost) ในวันที่ 3 คือ
(มูลค่าราคาหลักทรัพย์ 10,000+18,000+11,000) / จำนวนหลักทรัพย์ทั้งหมดที่ซื้อ 4,000 หุ้น = ราคา Avg.cost คือ 9.75 บาท*
ด้วยความเข้าใจว่าต้นทุนหลักทรัพย์นี้อยู่ที่ 9.75 บาท ซึ่งการขายที่ราคา 9.85 บาท ท่านต้องกำไร 0.10 สตางค์ แต่ท่านทำการขายแบบ FIFO เป็นการขายต้นทุน 10 บาท ของหลักทรัพย์ในวันที่ 1 ไม่ใช่ที่ราคา 9.75 บาท ที่แสดงในช่องของ Avg.cost เมื่อทำการขายหลักทรัพย์เป็นที่เรียบร้อยการแสดงค่าในช่อง Realized (กำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจริง) ท่านจะพบว่าเป็นยอดติดลบ
ราคาเฉลี่ย(Avg.cost) ของหลักทรัพย์ FSS จะถูกคิดคำนวณใหม่คือ
หลักทรัพย์ FSS ที่ซื้อในวันที่ 1 คงเหลือจำนวน 500 หุ้น ราคาหุ้นละ 10 บาท = 5,000 บาท
หลักทรัพย์ FSS ที่ซื้อในวันที่ 2 คงเหลือจำนวน 2,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 9 บาท = 18,000 บาท
หลักทรัพย์ FSS ที่ซื้อในวันที่ 3 คงเหลือจำนวน 1,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 11 บาท = 11,000 บาท
(มูลค่าราคาหลักทรัพย์ 5,000 + 18,000 + 11,000) /
จำนวนหลักทรัพย์คงเหลือ 3,500 หุ้น
= ราคา Avg.cost คือ 9.71 บาท*)
หากในวันที่ 4 ท่านไม่ได้ทยอยขายหลักทรัพย์ออกบางส่วน แต่เป็นการขายออกทั้งหมดในคราวเดียว ท่านก็จะพบว่า Realized (กำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจริง) จะไม่มีการคิดคำนวณแบบ FIFO (First In First Out) แต่จะเป็นการขาย Avg.cost ที่ 9.75 บาท
หมายเหตุ :
สาเหตุหลักเกิดได้จาก
ทั้งนี้สาเหตุดังกล่าวเป็นเพียงสาเหตุหนึ่งเท่านั้น ให้ท่านติดต่อผู้แนะนำการลงทุนของท่านเพื่อตรวจสอบข้อมูลอีกครั้งและทางผู้แนะนำการลงทุนของท่านจะเป็นผู้ดำเนินการส่งเรื่องปลดล็อกบัญชี
กรณีบัญชีไม่ได้มีการเคลื่อนไหวมานาน ข้อมูล KYC หมดอายุหรือต้องมีการทบทวนใหม่โดย